สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดย ชยุดา พยุงวงษ์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
🍁 เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรูปแบบเด็กนักวิจัย
🍁 เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง
ขอบเขตของการวิจัย
เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปีที่กําลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อําเภอ
บางละมุง จังหวัดชลบุรี สํากัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลาก 1 ห้องเรียน จากจํานวน 4 ห้องเรียน และจับสลากนักเรียนจากห้องที่จับสลาก
ได้จํานวน 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง
สรุปผลการวิจัย
🍁ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์โดยรวมก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.900 และหลัง
การทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.300 ก่อนและหลังทดลอง มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างชัดเจน และการทดลองครั้งนี้ส่งผลต่อทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์โดยรวมร้อยละ
91.7
🍁ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์โดยแยกรายด้าน ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนก
ประเภท ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความเห็น และทักษะการพยากรณ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น